การสร้างแบบจำลองและสถานการณ์จำลอง ระบบโครงข่ายจราจร พฤติกรรมและอุปสงค์การเดินทาง สำหรับการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า (Modelling and Simulation of Passenger and Freight Transport Demand and Traffic Network Systems) โดยเฉพาะกรณีการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ (Non-motorised Transport) การบริการขนส่งตามประสงค์ (Mobility-on-Demand Services) การบริการจัดส่งอาหาร (Food Delivery Services) ผู้สูงอายุหรือทุพพลภาพ (Elderly or Disabled Residents) และภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters)
การขนส่งสินค้า: อุปสงค์และพฤติกรรมองค์กรผู้จัดส่ง (Freight Transport Demand and Supplier Behaviour) การใช้พลังงาน ภายในห่วงโซ่อุปทานการขนส่งสินค้า ตลอดจนภายในอาคารพาณิชย์ อาคารที่พักอาศัย และโครงข่ายการขนส่ง (Energy Consumption in Freight Transport Supply Chain; including Commercial and Residential Buildings and Transport Networks)
แบบจำลองพฤติกรรมการตัดสินใจ เน้นกลุ่มแบบจำลองอุปสงค์การเดินทางโดยพื้นฐานทางกิจกรรม และแบบจำลองทางเลือกแบบไม่ต่อเนื่องขั้นก้าวหน้า (Choice Behaviour Models; specialising in Activity-based Travel Demand Models and Advanced Discrete Choice Models)
Pochan, J., Pichayapan, P. and Arunotayanun, K.(2020) “A Modeling Framework of Hierarchical Earthquake Relief Center Locations under Demand Uncertainty”, International Journal of GEOMATE, Vol.18, Issue 65, pp. 23 – 33, DO: https://doi.org/10.21660/2020.65.12752.
Tachaudomdach,S., Arunotayanun, K.and Upayokin, A. (2019) “A systematic review of the resilience of transportation infrastructures affected by flooding”, ACM International Conference Proceeding Series, ACM Digital Library, Vol. F148260, pp. 176-182,DOI: 10.1145/3321619.3321668.
Srisawat, P., Kronprasert, N. and Arunotayanun, K. (2017) “Development of Decision Support System for Evaluating Spatial Efficiency of Regional Transport Logistics”, Transport Research Procedia, Vol. 25, pp. 4832-4851.
Arunotayanun, K.and Polak, J. W. (2011) Taste Heterogeneity and Market Segmentation in Freight Shippers’ Mode Choice Behaviour, Transportation Research Part E: Logistics and Transportation Review, Vol. 47, No. 2, pp. 138-148.
ผลงานนำเสนอ
Pochan, J., Pichayapan, P. and Arunotayanun, K. (2020), "Development of Travel Demand Model under Earthquake by Using Spaghetti and Meatballs Method and Four-Step Transportation Model", 42th International Conference on Engineering, Technology and Applied Science (ETAS-42), Tokyo, Japan, 14th January.
Tachaudomdach, S., Arunotayanun, K. and Upayokin, A. (2019) “Comparative Analysis of Modeling Approaches for Evaluating Transportation Network Resilience against Disasters”, presented in 14th International Congress of Logistics and SCM Systems (ICLS 2019), 19-22 August, Taipei, Taiwan.
วิชิตา ท้าวหน่อ, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, พรพจน์ นุเสน, วันพิชิต แก้วทอง, และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2562) “แบบจำลองสารสนเทศอาคารสี่มิติ สำหรับการปรับปรุงอาคารราชการขนาดใหญ่พิเศษ (4D Building Information Model for Extra Large Governmental Building Renovation)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12กรกฎาคม, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์, อุดรธานี, หน้า 920-927.
เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, จิณห์จุฑา สกุลตัน, ชนกานต์ ภิญโญภูมิมินทร์, ปัญจโชค จิตราภิรมย์ และ อรรถวิทย์ อุปโยคิน (2561) “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจใช้ทางเดินยกระดับของผู้เดินเท้า ภายในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่(Factors influencing PedestrianDecisionMaking Behaviour on using the Elevated Skywalk in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, 18-20 กรกฎาคม2561.
ณัฏฐา ศิรินันท์, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, อรรถวิทย์ อุปโยคิน และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2561) “การประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ต่อการลงทุนอสังหาริมทรัพย์เชิงที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และกระบวนการลำดับขั้นเชิงวิเคราะห์(Site Suitability Evaluation for Elderly Residential Real Estate Investment using Geographic Information System and Analytic Hierarchy Process)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, 18-20 กรกฎาคม2561.
ธนัญชัย ลอยใหม่ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์ (2561) “การวิเคราะห์พฤติกรรมการเลือกรูปแบบการเดินทาง เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะในเขตเมืองอย่างยั่งยืน(Analysis of Travel Mode Choice Behaviour for Sustainable Urban Public Transport Infrastructure Development)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, 18-20 กรกฎาคม 2561.
Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P. and Arunotayanun, K. (2017) “Developing Model for Traffic Impact Assessment in University: A Case Study of Pibulsongkram Rajabhat University”, the 3rd National Conference of Industrial Technology, 20-21 July 2017, Taksila Grand Hotel, Mahasarakham, Thailand (in Thai).
ลีลาวดี ลาวัง และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์ (2560) “สิ่งอำนวยความสะดวก และปัจจัยสัมพันธ์ ที่มีอิทธิพลต่อค่าก่อสร้างและการเลือกซื้ออาคารที่พักอาศัยเพื่อผู้สูงอายุ(Facilities and Related Factors influencing the Construction Cost and Purchase Decision for Elderly Residential Buildings)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, เดอะกรีนเนอรี่รีสอร์ทเขาใหญ่, นครราชสีมา, 18-20 กรกฎาคม 2560.
ฉัตรนภา บุญยืนและ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์ (2560) “การบ่งชี้ปัจจัยที่ส่งผลต่อความบกพร่องของงานก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย(Identifying Factors Contributing to Construction Defects in Residential Buildings)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, เดอะกรีนเนอรี่รีสอร์ทเขาใหญ่, นครราชสีมา, 18-20 กรกฎาคม 2560.
สมพักษ์ จิตอารี, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์และ อรรถวิทย์ อุปโยคิน (2560) “การประเมินทางเลือกการขนส่งเที่ยวกลับปูนซีเมนต์ผงและเถ้าลอยข้ามพรมแดนไทย-ลาว(Evaluating Alternatives for Cross-border Backhauling of Loose Cement and Fly Ash between Thailand and Laos)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, เดอะกรีนเนอรี่รีสอร์ทเขาใหญ่, นครราชสีมา, 18-20 กรกฎาคม 2560.
เกรียงไกร อรุโณทยานันท์และ ทศพล หรรษานนท์ (2559) “การประยุกต์แบบจำลองวิศวกรรมจราจร เพื่อพัฒนาการขนส่งอย่างยั่งยืน ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Application of Traffic Simulation for Developing Sustainable Transport in Chiang Mai University)”, การประชุมวิชาการ the 1st Annual Conference of Sustainable University Network of Thailand, มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา, 28-29 พฤศจิกายน.
เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, อรรถวิทย์ อุปโยคินและ วชิระ วิจิตรพงษา(2559) “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะ เพื่อส่งเสริมการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Factors influencing Public Transport Users’ Mode Choice Behaviour for promoting Non-Motorised Transport in Bangkok Metropolitan Region)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21, โรงแรม บีพี สมิหลา บีช, จ.สงขลา, 28-30 มิถุนายน 2559.
กรรมการพิจารณาคัดเลือกบทความทางวิชาการ (Manuscript Reviewer/Referee) สำหรับวารสารวิชาการและงานประชุมระดับนานาชาติ เช่น Transportation Research Part E: Logistics and Transportation Review, Journal of Transport Geography, World Conference on Transportation Research (WCTR), Journal of Tourism Management, Transportmetrica A: Transport Science, Omega: The International Journal of Management Science เป็นต้น (2550 – ปัจจุบัน)