Civil Engineering CMU

ผศ.ดร. มานพ แก้วโมราเจริญ

ดร. มานพ แก้วโมราเจริญ
Manop Kaewmoracharoen, Ph.D.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง

การศึกษา

  • ปริญญาตรี - วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ประเทศไทย (2543)
  • ปริญญาโท - M.S. (Civil Engineering), Iowa State University, รัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา (2547)
  • ปริญญาเอก - Ph.D. (Civil Engineering), Iowa State University, รัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา (2552)

งานสอนที่สนใจ

  • เทคโนโลยีนวัตกรรมในงานก่อสร้าง
  • แบบจำลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling - BIM)
  • การบริหารโครงการ และการควบคุมโครงการ

งานวิจัยที่สนใจ

งานวิจัยของอาจารย์มานพมุ่งเน้นไปทางด้านการบริหารและการจัดการข้อมูลสำหรับในสายงานโยธาและงานก่อสร้าง โดยการใช้ความรู้ในด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ อินโฟกราฟิกส์ และวิชวลไลเซชันเข้ามาประยุกต์ในหลากหลายสาขา อาทิเช่น ในด้านการวางแผนงาน ตลอดจนการควบคุมงาน รวมไปถึงเทคโนโลยีด้านอื่นที่มีการใช้ในสายงานก่อสร้าง นอกจากนี้เขายังสนใจในด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน การก่อสร้างแบบยั่งยืน

วิทยากรรับเชิญ

  • [ผู้ดำเนินรายการ] River Revitalization Through Innovative Technology, กรมยุโรป ร่วมกับสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ สถานเอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ประจำประเทศไทย และสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในการจัดประชุมออนไลน์ (webinar) ในวันที่ 28 สิงหาคม 2563
  • สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เรื่องเล่าจาก AUNILO: Digital Scholarship เทรนด์ใหม่กับบริการสนับสนุนการวิจัย, 28 สิงหาคม 2561.
  • สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, การสนับสนุนการวิจัยในแนวทาง Digital Scholarship Trends, 10 สิงหาคม 2561.
  • [ผู้ดำเนินรายการ] มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค (Regional Research Expo) ประจำปี 2557 เรื่อง การบริหารจัดการน้ำ โดยมี อาจารย์ปราโมทย์ ไม้กลัด และ ผศ.ดร.วสันต์ จอมภักดี เป็นวิทยากรบรรยาย, หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,14 มีนาคม 2557.
  • การประชุมวิชาการประจำปี 2557 เรื่อง การบริการสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีอุบัติใหม่ (Providing Information Services with Emerging Technologies), การเสวนาเรื่องการพัฒนาแนวปฏิบัติการพัฒนาเว็บบริการสารสนเทศ - เทรนด์และเทคนิคในการทำเว็บไซต์ในยุคปัจจุบัน, สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 6 กุมภาพันธ์ 2557.
  • Thailand Research Expo 2012, Disaster Management - Comparing the Disaster Information Gathering Behavior of Thai and Japanese during the 2011 Thai Flood and the Tohoku Earthquake and Tsunami Disaster, (with Dr. Akiyuki Kawasaki), ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์, 26 สิงหาคม 2555.
  • จังหวัดเชียงใหม่, การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารงานของจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้ำคูคลองในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่, โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์, 29 สิงหาคม 2554.
  • จังหวัดเชียงใหม่, ฐานข้อมูลและเทคนิควิธีการหาแนวทางแก้ไขปัญหาการกีดขวางทางน้ำ, โรงแรมคุ้มภูคำ, 18 สิงหาคม 2554.
  • The Catholic University of America, Construction Operations Analysis (CE 590), Washington, DC, 2552.
  • ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.), ประสบการณ์การทำวิกิพีเดียภาษาไทย และ การพัฒนา "สารานุกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับประเทศไทย", 17 กันยายน 2551.

ผลงานวิชาการที่คัดมา

ผลงานตีพิมพ์นานาชาติ

  1. Nusen, P., Boonyung, W., Nusen, S., Panuwatwanich, K., Champrasert, P., & Kaewmoracharoen, M. (2021). Construction Planning and Scheduling of a Renovation Project Using BIM-Based Multi-Objective Genetic AlgorithmAppl. Sci. 2021, 11, 4716. https://doi.org/10.3390/app11114716
  2. Tea, S., Panuwatwanich, K., Ruthankoon, R., Kaewmoracharoen, M. (2021). Multiuser immersive virtual reality application for real-time remote collaboration to enhance design review process in the social distancing era. Journal of Engineering, Design and Technology, 2021. https://doi.org/10.1108/JEDT-12-2020-0500
  3. Try, S., Panuwatwanich, K., Tanapornraweekit, G., &  Kaewmoracharoen, M. (2021). Virtual Reality Application to Aid Civil Engineering Laboratory Course: A Multi-Criteria Comparative Study. Comput. Appl. Eng. Educ., 1– 22. https://doi.org/10.1002/cae.22422
  4. Nusen, P., Piyawongwisal, P., Nusen, S., and Kaewmoracharoen, M. (2021). Resource Utilization Optimization using Genetic Algorithm based on Variation of Resource Fluctuation Moment for Extra-Large Building Renovation. 6th International Conference on Building Materials and Construction. Singapore. March 2021. https://doi.org/10.1145/3460179.3460183
  5. Pichayapan, P., Kaewmoracharoen, M., Peansara, T., & Nanthavisit, P. (2020). Urban School Area Road Safety Improvement and Assessment with a 3D Piano-Keyboard-Styled Pedestrian Crossing Approach: A Case Study of Chiang Mai University Demonstration School. Sustainability 2020, 12(16), 6464; https://doi.org/10.3390/su12166464
  6. Suntaranont, B., Aramkul, S., Kaewmoracharoen, M., & Champrasert, P. (2020). Water Irrigation Decision Support System for Practical Weir Adjustment Using Artificial Intelligence and Machine Learning Techniques. Sustainability 2020, 12(5), 1763. https://doi.org/10.3390/su12051763
  7. Sutheerakul, C., Kronprasert, N., Kaewmoracharoen, M., Pichayapan, P. (2017). Application of Unmanned Aerial Vehicles to Pedestrian Traffic Monitoring and Management for Shopping Streets. Transportation Research Procedia. 25, 1720-1739. https://doi.org/10.1016/j.trpro.2017.05.131
  8. Jaselskis, E. J., Schexnayder C., Fiori C., Becker T., Hung W., Beckman C., Kaewmoracharoen, M., Recavarren, G., Celaya, M., and Alarcon, D. (2013). Innovative Technologies Used to Investigate Segments of the Inca Road.Journal of Professional Issues in Engineering Education and Practice.139, 187-195. https://doi.org/10.1061/(ASCE)EI.1943-5541.0000145
  9. 昭如川崎, 伸也近藤, 美保大原, 大輔小森, 暁小高, Kaewmoracharoen, M.,Sunthararuk, A.(2012). タイの山間・農村地域の災害情報伝達システム その3. 生産研究, 64(4), 509–513. doi:10.11188/seisankenkyu.64.509
  10. 伸也近藤, 昭如川崎, 美保大原, Sunthararuk, A., & Kaewmoracharoen, M. (2012). タイの山間・農村地域の災害情報伝達システム その2. 生産研究, 64(4), 539–543. doi:10.11188/seisankenkyu.64.539
  11. 昭如川崎, 伸也近藤, 美保大原, 大輔小森, 暁小高, Kaewmoracharoen, M. ,Sunthararuk, A. (2012). タイの山間・農村地域の災害情報伝達システムその1. 生産研究, 64(4), 505–508. doi:10.11188/seisankenkyu.64.505
  12. Walters, R., Jaselskis, E., Zhang, J., Mueller, K., and Kaewmoracharoen, M. (2008). Using Scanning Lasers to Determine the Thickness of Concrete Pavement. Journal of Construction Engineering and Management, 134(8), 583–591.

ผลงานตีพิมพ์ระดับประเทศ (TCI Tier 1)

  1. เบญญา สุนทรานนท์, สมรวี อร่ามกุล, ภาสกร แช่มประเสริฐ, ชูโชค อายุพงศ์ และ มานพ แก้วโมราเจริญ. (2019). การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการปรับระดับประตูน้ำของเหมืองฝาย กรณีศึกษา อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. Development of a Decision Support System for Weir Sluice Gate Level Adjustment Case Study: Mae Chan, Chiang Rai. Engineering Journal, Chiang Mai University, 26 (2), 107-120.
  2. อลงกต สุคำวัง, สุนิตา นุเสน, พรพจน์ นุเสน และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2019). Guideline of Construction Quantity Takeoff on BIM-based Model According to MasterFormat Categories. KKU Research Journal, 19(2), 92-105.
  3. นพดล กรประเสริฐ, ณฤดล ศรีตะระโส, มานพ แก้วโมราเจริญ และ ปรีดา พิชยาพันธ์ (2017). Traffic simulation for mitigating traffic impacts during special events in Chiang Mai University. Journal of Environmental Design, Faculty of Architecture, Chiang Mai University, 4 (2), 101-121.

ผลงานนำเสนอนานาชาติ

  1. Kiatwatthanacharoen, S., and Kaewmoracharoen M. (2013). Building Information Modeling Adoption and Sustainable Construction Practice in Thailand. 20th Tri-University International Joint Seminar and Symposium, 2013.
  2. Jaselskis, E., Schexnayder, C., Fiori, C., Becker, T., Kaewmoracharoen, M., Beckman, C., Hung, A., and Short, K. (2012), Using Tele-engineering as a Tool to Reverse Engineer the Inka Road.Construction Research Congress 2012, West Lafayette, Indiana, USA. May 2012.
  3. Kaewmoracharoen, M., Strong, K., (2009).Creating 3D Models from 2D Documents to Simulate Work Zone Constraints: A Test of Perceived Benefit to Cost. 1st International Conference on Transportation Construction Management. Orlando, Florida, USA. Feb 2009.
  4. Kaewmoracharoen, M., Strong, K., (2008).Differences in Perception of Value-Added from Work Zone Modeling and Visualization. Mid-Continent Transportation Research Forum 2008. Madison, Wisconsin, USA, August 2008.
  5. Kaewmoracharoen, M., Strong, K., (2008)Feasibility of Visualization and Simulation Applications to Improve Work Zone Safety and Mobility. Canadian Society for Civil Engineering Annual Conference, Canadian Society of Civil Engineers, 2008.
  6. Walters, R, Gao, Z, Jaselskis, E, Kaewmoracharoen, M. A Usability Study of an Object-Oriented Design and Specification System for Transportation Projects, in book Construction Research Congress 2005: Broadening Perspectives, American Society of Civil Engineers, 2005.
  7. Kaewmoracharoen, M. Enhancing Electronic Highway Design Standards and Specifications. Mid-Continent Transportation Research Symposium, Ames, Iowa, August 2005.

ผลงานนำเสนอระดับประเทศ

  1. วิชิตา ท้าวหน่อ, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, พรพจน์ นุเสน, วันพิชิต แก้วทอง และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2019). 4D Building Information Model for Extra Large Governmental Building Renovation. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 24, อุดรธานี, กรกฎาคม 2562.
  2. กัมปนาท เปี้ยตั๋น, พิมพ์สิริ โตวิจิตร, เอกพิสิษฐ์ บรรจงเกลี้ยง และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2019). Developing of Building Information Modeling Based Integrated Facility Management in Government Properties. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 24, อุดรธานี, กรกฎาคม 2562.
  3. ภูบดี พัวพันธ์รักษกุล, เอกพิสิษฐ์ บรรจงเกลี้ยง, สุนิตา นุเสน และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2019). Comparison of Repetitive Scheduling Method and Traditional Scheduling Method in Highway Construction Work Duration and Resource Usage. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 24, อุดรธานี, กรกฎาคม 2562.
  4. ณัฏฐา ศิรินันท์, มานพ แก้วโมราเจริญ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์ (2018). Site Suitability Evaluation for Elderly Residential Real Estate Investment using Geographic Information System and Analytic Hierarchy Process. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 23, นครนายก, กรกฎาคม 2561.
  5. สมเจตน์ สุวรรณคำวงศ์, มานพ แก้วโมราเจริญ และ ชูโชค อายุพงศ์ (2017). Risk Evaluation for the Improve Planning of Water Distribution Piping System of Provincial Waterwork Authority at Lampang Branch. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 22, นครราชสีมา, กรกฎาคม 2560.
  6. Kaewmoracharoen, M., Intharapakdee, S., Eurviriyanukul, S., Thovichit, P. (2016). Preliminary cost estimates of existing campus buildings renovation to meet green building standards. The 1st Annual Conference of Sustainable University Network of Thailand, Nakhon Pathom, Thailand.
  7. สุนิสา อินทรภักดี, สุนิตา เอื้อวิริยานุกูล, พิมพ์สิริ โตวิจิตร และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2016). Cost Analysis of Development Sustainable Sites in University According for Green University. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 21, สงขลา, มิถุนายน 2559.
  8. วิจารณ์ ขุนเสถียร, มานพ แก้วโมราเจริญ และ ชูโชค อายุพงศ์ (2016). Level Arrangement Based on Performance and Competency for Registered Road Construction Contractor. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 21, สงขลา, มิถุนายน 2559.
  9. กอบกุล แก้วเปี้ย,ณัฐพงศ์ พุ่มงาม และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2016). 4D Construction Planning by Using Repetitive Scheduling Method. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 21, สงขลา, มิถุนายน 2559.
  10. วริศรา แก้วร่วมวงศ์, พรพจน์ นุเสน, ณัฐพงศ์ พุ่มงาม และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2016). Integrating Construction Cost Control Process into Building Information Modeling.บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 21, สงขลา, มิถุนายน 2559.
  11. นิธิพัฒน์ แป้นทอง, พิมพ์สิริ โตวิจิตร และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2016). Guideline in Applying the Concept of Net Zero Waste for High Rise Building Construction. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 21, สงขลา, มิถุนายน 2559.
  12. มานพ แก้วโมราเจริญ, ณัฐพงศ์ พุ่มงาม, ชัชวาลย์ วรศรีหิรัญ และ พรพจน์ นุเสน (2015). Assessment of Drone Technology Flying Patterns for Monitoring and Controlling Construction Projects. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20, ชลบุรี, กรกฎาคม 2558.
  13. มานพ แก้วโมราเจริญ, ชัพวิทย์ รื่นนารีนารถ, สุนิตา เอื้อวิริยานุกูล และ พิมพ์สิริ โตวิจิตร (2015). Application of Value Engineering and BIM for Formation Selection Guideline by Analyzing Temperature in Residential Building. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20, ชลบุรี, กรกฎาคม 2558.
  14. ชัชวาลย์ วรศรีหิรัฐ และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2015). Innovation for Time Reduction in LEAN-BIM Construction Process. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20, ชลบุรี, กรกฎาคม 2558.
  15. ธนิต คำมีอ้าย, มานพ แก้วโมราเจริญ และ อนิรุทธ์ ธงไชย (2014). Risk Perception and Safety Behavior of Construction Workers in Irrigation Projects. บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 19, ขอนแก่น, พฤษภาคม 2557, 174.
  16. ณัฐพงศ์ พุ่มงาม และ มานพ แก้วโมราเจริญ (2014). Barriers of Project Delivery System Design-Build in Entry into the Construction Industry Market of Thailand. บทความวิชาการ ของ การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 19, ขอนแก่น, พฤษภาคม 2557, 177.
  17. พรพจน์ นุเสน, มานพ แก้วโมราเจริญ และ สุนิตา เอื้อวิริยานุกูล (2014). Factors Influencing Decision-making of Housing Interior Architecture Contractors in Chiang Mai Province. บทความวิชาการของ การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 19, ขอนแก่น, พฤษภาคม 2557, 183.

ฐานข้อมูลนักวิจัย

โครงการวิจัยระดับนานาชาติ

  • Disaster Risk Information for Local Community in Thailand
    • มหาวิทยาลัยโตเกียว ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, AIT, และ มูลนิธิเลยเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • แหล่งทุน มหาวิทยาลัยโตเกียว 

ในข่าว

ในเว็บ

  • การเยี่ยมชมศูนย์จัดการทรัพยากรน้ำ FRICS ประเทศญี่ปุ่น 河川・流域情報に関する国際協力

ประสบการณ์ด้านบริหาร (วิชาการ)

  • 2560-2561 - ผู้รักษาการแทนรองผู้อำนวยการสำนักหอสมุด
  • 2558-2560 - ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา
  • 2554-2557 - ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา
  • 2554-2557 - กรรมการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของภาควิชาวิศวกรรมโยธา

รางวัล

  • Iowa State University Scholarship (2545-2552)

Experiences

  • Assistant to Managing Editor of Construction Engineering and Management Journal (JCEM) - American Society of Civil Engineers (2550-2551)
  • Research Assistant (RA) - Iowa State University (2545-2552)
  • Teaching Assistant (TA) - Iowa State University (2549-2552)

Certificate

  • 10-hour Occupational Safety and Health (OSHA) Training Course (2549)

ค้นหาข้อมูล