Civil Engineering CMU

อ.ดร. รังสรรค์ อุดมศรี

ดร. รังสรรค์ อุดมศรี
Rangsan Udomsri
อาจารย์
วิศวกรรมขนส่ง

การศึกษา

  • ปริญญาตรี - วศ.บ (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พ.ศ. 2520
  • ปริญญาโท - วศ.ม [วิศวกรรมโยธา(ขนส่ง)], จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2523
  • ปริญญาเอก - Dr.Eng. [Civil Engineering (Transportation)], Yokohama National University, ประเทศญี่ปุ่น, พ.ศ. 2537

งานสอนที่สนใจ

  • ปริญญาตรี:
    • Transportation Engineering
    • Highway Engineering
    • Highway Material
  • ปริญญาโท:
    • Traffic Engineering
    • Advanced Highway Design
    • Transportation Project Evaluation
    • Planning and Design of Airport

งานวิจัยที่สนใจ

  • การวางแผนและออกแบบระบบขนส่ง (Transportation Planning and Design)
  • การจัดระบบการจราจร (Traffic Planning and Management)
  • การพัฒนาแบบจำลองการขนส่ง (Transportation Modeling)

วิทยากรรับเชิญ

  • 25 เมษายน 2550 , การพัฒนาเทคนิค Stated Preference (SP) ในการประเมินคุณภาพการให้บริการของรถขนส่งกึ่งสาธารณะ , ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการที่คัดมา

บทความทางวิชาการ พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน

  • สิทธา เจนศิริศักดิ์,เอกชัย สุมาลี,สุเมธ องกิตติกุล, รังสรรค์ อุดมศรี, ”Concept for Development of National Freight Modeling for Thailand “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 14, นครราชสีมา, พ.ศ.2552
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” A System Dynamic Model of Transportation Energy Consumption in Regional City of Thailand : A Case Study of Chiang Mai Urban Area“, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 14, นครราชสีมา, พ.ศ.2552
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Energy Consumption of Transportation Sector in Regional City: A Case Study of Chiang Mai Province “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 13, พิษณุโลก, พ.ศ.2551
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Management Plans for Bus Rapid Transit Operation in Chiang Mai “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้ง 4, เชียงใหม่, พ.ศ.2550. (รางวัลบทความวิจัยดีเด่น)
  • ชาคริต ชูวุฒิยากร, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Relationship Between Trip Generation and Land Use: A Case Study in Chiang Mai Urban Area”, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมล้านนาครั้งที่ 1, เชียงใหม่,พ.ศ.2550.
  • วรรณภา พจนา, รังสรรค์ อุดมศรี, ”Population Opinion in Appropriates Chiang Mai Transit System “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมล้านนาครั้งที่ 1, เชียงใหม่, พ.ศ.2550
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม, คงเดช ธีรรัตนเขต, รังสรรค์ อุดมศรี, ” The Selection of Mass Transit System Technology for Regional City: The Case Study of Chiang Mai City “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้งที่ 3, ขอนแก่น, พ.ศ.2549 (รางวัลบทความวิจัยดีเด่น)
  • สิทธิธรรม อู่รอด, อนุเขตต์ กันทวงศ์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” The Applicationof Handheld GPS in Speed and Travel Time Surveys “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้งที่ 3, ขอนแก่น, พ.ศ. 2549.
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม,,มนต์ชัย ชุ่มอินทจักร์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” A Forecasting of Fuel Energy Consumption of Traffic in Chiang Mai Urban Road Network “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 11, ภูเก็ต, พ.ศ.2549.
  • คงเดช ธีรรัตนเขต, พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Public Transport Rearrangement in Chiang‐Mai Urban Area “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 11, ภูเก็ต, พ.ศ.2549.
  • เอกฉัตร วงศ์ทะกัณฑ์, อนุเขตต์ กันทวงศ์, สมพงษ์ ปักษาสวรรค์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Mode Choice Model of Intercity Traveler “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 11, ภูเก็ต, พ.ศ.2549.
  • ชาคริต ชูวุฒิยากร, คงเดช ธีรรัตนเขต, สิทธิธรรม อู่รอด, รังสรรค์ อุดมศรี, ”Relationship Between Trip Generation and Land Use: A Case Study in Chiang Mai Urban Area “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 10, ชลบุรี, พ.ศ.2548.
  • อนุเขตต์ กันทวงศ์, พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Prediction of Freight Transportation Demand by Rail : A Case Study of North and North‐East Railway Extension Routes “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 10, ชลบุรี, พ.ศ.2548.
  • อนุเขตต์ กันทวงศ์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Factors Influence Mode Choice of Intercity Transport for Road and Railway System “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 9, เพชรบุรี, พ.ศ.2547.
  • คงเดช ธีรรัตนเขต, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Application of Multi‐Criteria Analysis for Evaluating the Alternative Mini‐bus Network in Chiang Mai City “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 9, เพชรบุรี, พ.ศ.2547.
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม, สมพงษ์ ปักษาสวรรค์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Comparison on Travel Characteristics and Use of Household Vehicles for Resident in Major Regional Cities “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 9, เพชรบุรี, พ.ศ.2547.
  • ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม, พันธ์ระวี กองบุญเทียม, รังสรรค์ อุดมศรี, ” A Stochastic Market Clustering Air Travel Demand Forecasting Model: Chiang Mai as Aviation Hub Scenarios “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้งที่ 2, กรุงเทพ, พ.ศ.2547. (รางวัลบทความวิจัยดีเด่น)
  • คงเดช ธีรรัตนเขต,พันธ์ระวี กองบุญเทียม,ยุทธกิจ ครุธาโรจน์,รังสรรค์ อุดมศรี, ” Travel Characteristics and Mode Choice Behaviors of Chiang Mai Inter‐city Passengers“, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้งที่ 2, กรุงเทพ, พ.ศ.2547.
  • พันธ์ระวี กองบุญเทียม,ยุทธกิจ ครุธาโรจน์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Prediction of Fuel Consumption by Household Vehicles in Chiang Mai Urban Area “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้งที่ 1, กรุงเทพ, พ.ศ.2546.
  • มาโนช ชาวสวน, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Selection of Interchange Configuration Using Analytic Hierarchy Process “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 8, ขอนแก่น, พ.ศ.2545.
  • จีระพงศ์ เทพพิทักษ์, รังสรรค์ อุดมศรี, ” Evaluation Geometric Design of Highway Alignment Using Geometric Modulus “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 8, ขอนแก่น, พ.ศ.2545.
  • เหมือนจิต ประทุมทิพย์, รังสรรค์ อุดมศรี, Land use and Transportation Interaction Modeling : A Case Study of Chiang Mai Urban Area “, บทความวิชาการของการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 8, ขอนแก่น, พ.ศ.2545.

Research Publications during 1995present

  • Udomsri, R., and Kongboontiam, P., 2003. “Fuel Consumption Model for Household Vehicle in Chiang Mai Urban Area”, Journal of the 5th Conference of Eastern Asia Society for Transportation Study, Fukuoka, Japan.
  • Udomsri, R., and Upayokin, A., 2003. “Mode Choice Logit Model for a Proposed Bus Transportation in Chiang Mai”, Proc. of the 4th Regional Symposium on Infrastructure Development in Civil Engineering (RSID4), Bangkok, Thailand.
  • Udomsri R., 2000. “Transport Modeling for Urban Road Planning in a Small City : A Case of Lamphun”, Proceedings of the 10th Conference of Road Engineering Association of Asia and Australia, Tokyo, Japan.
  • Udomsri R., 1999. “Urban Travel Characteristics and Transport Planning in Regional Cities of Northern Thailand”, Journal of the 3th Conference of East Asia Society for Transportation Study,Taipei, Taiwan.
  • Miyamoto K. and R. Udomsri, 1996. “An Analysis for Integrated Policy Measures Regarding Land‐use, Transport and Environment in a Metropolis”. Transport, Land‐Use and the Environment ,259‐280, Kluwer Academic Publishers.
  • Miyamoto K. and R. Udomsri, S. Sathyprasad and F.Ren , 1996. “ A Decision Support System for Integrating Land Use, Transport and Environmental Planning in Developing Metropolises”, An International Journal of Computers, Environment and Urban System“, Pergamon press.
  • Udomsri R.and K. Miyamoto, 1995. “An Approach to Prescribe for Urban Problems in Bangkok by Integrating Transport, Land use and Environmental Policies”, Journal of the Eastern Asia Society for Transportation Studies (EASTS), Vol.1 , No.2, 745‐758. Manila, Philippine.

ฐานข้อมูลนักวิจัย

ประวัติการทำงาน

  • พ.ศ. 2526 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2522 – 2526วิศวกรขนส่ง สำนักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย (ปัจจุบันคือสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม)
  • พ.ศ. 2521 – 2522วิศวกรโยธา กองทางหลวงท้องถิ่น กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย (ปัจจุบันคือ กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม)

ประสบการณ์ด้านบริหาร (วิชาการ)

  • พ.ศ. 2542– 2544 หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2532– 2533 รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์ด้านวิชาชีพ

  • พ.ศ. 2550– ปัจจุบัน รองประธานคณะกรรมการ วสท. สาขาภาคเหนือ 1 (กรรมการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543)
  • พ.ศ. 2550– ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประจำคณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรประจำจังหวัดเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2551– ปัจจุบัน รองประธาน JSCE (Japan Society of Civil Engineer) Thailand’s Chapter

ประสบการณ์ด้านวิชาการ

  • พ.ศ. 2550 – ปัจจุบัน Board member of Asian Transportation Research Society (ATRANS)
  • พ.ศ. 2540 – 2550 International Scientific Committee (ISC) for East Asian Society for Transportation Studies (EASTS)

ประสบการณ์งานบริการวิชาการ

งานบริการวิชาการที่ดำเนินการภายใต้การกำกับของหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (เฉพาะในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พ.ศ. 2547 – 2552) ได้แก่

  • หัวหน้าโครงการ, “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาเส้นทางพิเศษสำหรับรถบรรทุก และระบบบริหารจัดการการเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ”, สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม, (ก.ค.2550 - เม.ย.2552), สถานบริการวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นที่ปรึกษาโครงการ.
  • หัวหน้าโครงการ, “โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทและออกแบบเพื่อก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนเมืองเชียงใหม่”, สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม, (ม.ค.2549-ม.ค.2550), สถานบริการวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นที่ปรึกษาโครงการ.
  • หัวหน้าโครงการ, “โครงการศึกษาการจัดทำแผนแม่บทด้านการขนส่งและจราจรเพื่อรองรับการเป็นศูนย์คมนาคมและศูนย์กลางภาคเหนือตอนบนของเมืองเชียงใหม่”, สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม, (มี.ค.2547 - ม.ค.2548), สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นที่ปรึกษาโครงการ.
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งและจราจร, “โครงการศึกษาจัดระเบียบรถขนส่งสาธารณะในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่”, เทศบาลนครเชียงใหม่,(ก.ย. 2546 - มี.ค.2547), สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นที่ปรึกษาโครงการ.

ผลงานที่ได้รับรางวัล

  • บทความวิจัยดีเด่น 3 บทความ จากที่ประชุมวิชาการวิศวกรรมขนส่งแห่งชาติครั้ง ที่ 2, 3 และ 4