Civil Engineering CMU

ผศ.ดร. เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา

ดร. เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา
Sethapong Sethabouppha, Ph.D.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วิศวกรรมธรณีเทคนิค
ประธานหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
ติดต่อ:
อาคารบัณฑิตศึกษา ห้อง 17-205F
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การศึกษา

  • พ.ศ.2541-2546 Doctor of Philosophy (Civil Engineering), Old Dominion University, USA
  • พ.ศ.2539-2540 Master of Engineering (Civil Engineering), Old Dominion University, USA
  • พ.ศ.2527-2531 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

งานวิจัยที่สนใจ

  • วิศวกรรมแผ่นดินไหวเชิงธรณีเทคนิค
  • วัสดุงานโครงสร้างและวัสดุงานสถาปัตยกรรม
  • การก่อสร้างอาคาร
  • สภาวะน่าสบายในอาคาร และเทคโนโลยีอาคารเขียว

ผลงานวิชาการที่คัดมา

บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ (Publication)

  • ชลชัย คำถวาย และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2559) ศักยภาพในการเกิดดินเหลวของตัวเมืองเชียงรายเนื่องจากแผ่นดินไหวขนาดใหญ่. รวมบทความวิจัย (Proceedings)การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. 28-30 มิถุนายน 2559. สงขลา.
  • จิตนันท์ กาวิละนันท์ และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2559) เงื่อนไขในการเกิดสภาวะดินเหลวและทรายพุที่บ้านทุ่งฟ้าผ่า อ.แม่สรวย จ.เชียงราย ในเหตุการณ์แผ่นดินไหววันที่ 5 พฤษภาคม 2557. รวมบทความวิจัย (Proceedings)การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. 28-30 มิถุนายน 2559. สงขลา.
  • ณัทธพงศ์ สำราญประภัสสร, เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา และ ปิติวัฒน์ วัฒนชัย. (2559). การปรับปรุงกำลังเฉือนของทรายหลวมด้วยการเติมสารเพิ่มแรงยึดเกาะโดยใช้เทคนิคสุญญากาศ. รวมบทความวิจัย (Proceedings)การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. 28-30 มิถุนายน 2559. สงขลา.
  • ธนกฤต จันทร์บรรจง และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2558). แนวทางแก้ไขปัญหาความมั่นคงของบ้านที่มีเสายาวมากจากการดีดบ้าน. วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2558-ธันวาคม 2558).
  • อาลิตา ฉลาดดี และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2557). ขนาดเสาโดยประมาณสำหรับการออกแบบอาคารอยู่อาศัยรวมในเมืองเชียงใหม่เพื่อต้านทานแผ่นดินไหว. วารสารวิชาการออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2557-ธันวาคม 2557).
  • วรางคณา จวงจันดี, เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา, เอกชัย มหาเอก และยุทธนา ทองท้วม. (2556). แนวทางการออกแบบแผ่นสะท้อนรังสีอาทิตย์เพื่อช่วยเพิ่มการผลิตกระแสไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) ในการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13-15 พฤศจิกายน 2556. มหาสารคาม.
  • รัชฎาพร ใจกล้า และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2555). การออกแบบกระเบื้องคอนกรีตสำหรับมุงหลังคาให้มีช่องระบายอากาศขนาดเล็กและผลต่อการลดอุณหภูมิในช่องระหว่างหลังคากับเพดาน. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) ในการประชุมวิชาการ Built Environment Research Associates Conference, BERAC 3, 2012. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 25 พฤษภาคม 2555. ปทุมธานี.
  • วิสิษศักดิ์ สุริยาศรี และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2555). ความคุ้มทุนของหลังคาเขียวต่อการประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้าสำหรับการปรับอากาศในอาคารพาณิชย์ในจังหวัดเชียงใหม่. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) ในการประชุมวิชาการ Built Environment Research Associates Conference, BERAC 3, 2012. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 25 พฤษภาคม 2555. ปทุมธานี.
  • ภูวเดช วงศ์โสม  และเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2552). DEVELOPING CHEAPER DIN KHOR ROOF TILES TO CONSERVE LANNA ARCHITECTURE. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings)  ในการประชุมวิชาการนานาชาติ  ISACS2009. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2 –4 ธันวาคม  2552.  เชียงใหม่.
  • กิตติพงษ์  รื่นวงศ์  และเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2552). DEVELOPMENT OF CEMENT MORTAR MIXED WITH RICE HUSK ASH FOR ARCHITRAVE PRODUCTS. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) ในการประชุมวิชาการนานาชาติ  ISACS2009.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.  2 –4 ธันวาคม  2552.  เชียงใหม่.
  • เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา และปะกาศิต  พรแก้ว. (2552). A DEVELOPMENT OF TEACHING PROCESS FOR ARCHITECTURAL STUDENTS TO LEARN FINITE ELEMENT METHOD AS A TOOL FOR AIR FLOW SIMULATION. หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) .oการประชุมวิชาการนานาชาติ  ISACS2009.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2 –4 ธันวาคม  2552.  เชียงใหม่.
  • Chhay Karno  และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2551). Disposed Packaging EPS Foam as Thermal Insulation in Double – Layered Wall Panels.หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceedings) ในการประชุมวิชาการนานาชาติ  ISACS2008.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  18 –22 ตุลาคม 2551. ขอนแก่น.
  • Isao Ishibashi and Sethapong Sehtabouppha. (2007). EPS Filled Used Tires as a Light Weight Construction Fill Material. The International Workshop on Scrap Tire Derived Geomaterials. March 23 - 24, 2007. Yokosuka, Japan. (Proceedings).
  • พัชรวรรณ  เก๊อะเจริญ  และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2550). การพัฒนาอิฐคอนกรีตน้ำหนักเบาที่มีเถ้าปาล์มน้ำมันเป็นส่วนผสม. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนพฤษภาคม 2550.
  • Sethabouppha, S., (2005). Soil Liquefaction and the Submerging of the Ancient Yonok Naka Nakorn in Chiang Saen, Proceedings of Hompoom – Sathapattayapatha’04: Architectural Way, Communal Way, Folkway. January 26 – 28, 2005. Chiang Mai, Thailand..

การนำเสนอผลงานวิชาการ

  • รัชฎาพร ใจกล้า และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2555). การออกแบบกระเบื้องคอนกรีตสำหรับมุงหลังคาให้มีช่องระบายอากาศขนาดเล็กและผลต่อการลดอุณหภูมิในช่องระหว่างหลังคากับเพดาน. การประชุมวิชาการ Built Environment Research Associates Conference, BERAC 3, 2012. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 25 พฤษภาคม 2555. ปทุมธานี.
  • วัชรพงษ์  ชุมดวง, รณวีร์ สุวรรณทะมาลี  และเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2554). ระบบถอดประกอบสำหรับการพัฒนาเป็นบ้านเพื่อกรณีฉุกเฉิน. การประชุมสัมมนาวันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ครั้งที่ 6  “วิถีวิจัย :  นวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจสร้างสรรค์และความยั่งยืน”. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 24 – 25 พฤศจิกายน 2553. เชียงใหม่. (โปสเตอร์).
  • ยุทธนา ทองท้วม, เอกชัย มหาเอก และ เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2554). Performance of Chimney Techniques : Case of Chiang Mai House. การประชุมวันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 7 “วิถีวิจัยสู่การพัฒนาและรับใช้สังคม”. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 24 –25 พฤศจิกายน 2554. เชียงใหม่. (โปสเตอร์).
  • Sethapong Sethabouppha  and  Pakasith Phonekeo. (2552). Introducing a Finite Element Program to Architectural Students as a Tool for Air Flow Simulation Another Approach for Architects to Support Energy Conscious Design An Effective Measure for Architectural Schools to Survive Financially. CDAST INTERNATIONAL CONFERENCE 2009. Mahachulalongkornrajavidyalaya University. May 23 – 24, 2009. Ayutthaya, Thailand.
  • Isao Ishibashi and Sethapong Sehtabouppha. (2007). EPS Filled Used Tires as a Light Weight Construction Fill Material. The International Workshop on Scrap Tire Derived Geomaterials. March 23 - 24, 2007. Yokosuka, Japan. (Proceedings).
  • Transportation Research Board 80th Annual Meeting; Pre–Meeting Workshop: Doctoral Student Research in Transportation Geotechnics. January 7, 2001. Washington, DC, USA.
  • Chhay Karno  และเศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผา. (2551). Disposed Packaging EPS Foam as Thermal Insulation in Double – Layered Wall Panels. การประชุมวิชาการนานาชาติ  ISACS2008  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  18 –22 ตุลาคม 2551. ขอนแก่น.
  • เศรษฐพงศ์  เศรษฐบุปผา และ วราภรณ์ เล้ารัตนานุรักษ์, 2550. การปฏิบัติสู่ความเป็นผู้นำทางการวิจัยของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, The 8th Symposium on TQM–Best Practiced in Thailand.12 – 13 กรกฎาคม 2550. โรงแรมเซนจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร. (Oral and Proceedings).

ฐานข้อมูลนักวิจัย

ประวัติการทำงาน

  • พ.ศ.2531   วิศวกร บริษัทเนาวรัตน์พัฒนาการจำกัด
  • พ.ศ.2531 - 2537 วิศวกร ฝ่ายก่อสร้างพลังความร้อน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • พ.ศ.2537   วิศวกร บริษัทจิโรล่า (ประเทศไทย) จำกัด
  • พ.ศ.2546 – 2552 อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2547 – 2551 ผู้ช่วยคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2551 – 2555 รองคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2552 – 2556 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2556 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์    มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานอื่น

  • กรรมการส่งเสริมและประสานงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมการตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    • คณะบริหารธุรกิจ
    • คณะวิจิตรศิลป์
    • คณะอุตสาหกรรมเกษตร
    • คณะวิศวกรรมศาสตร์
    • คณะแพทยศาสตร์
    • คณะวิทยาศาสตร์
    • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • สถาบันวิจัยสังคม
    • สำนักบริการวิชาการ
    • สำนักหอสมุด