2549 |
การคาดคะเนการทรุดตัวของคันทางบนดินเหนียวอ่อนกรุงเทพที่ปรับเสถียรภาพด้วยเสาดินซีเมนต์ |
วิทยานิพนธ์ |
2549 |
โครงการพัฒนาช่องทางการเชื่อมโยงการค้าชายแดนของกล่มจังหวัด : การวางและจัดทำผังพื้นที่เฉพาะชุมชนบ้านฮวก กิ่งอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา |
โครงการวิจัย |
2550 |
ระบบช่วยการตัดสินใจสำหรับการจัดสรรงบประมาณบำรุงรักษาทางหลวง |
วิทยานิพนธ์ |
2550 |
แบบจำลองทางเลือกการเดินทางเข้าออกเมืองของชาวชนบทจังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมตัวแปรเชิงทัศนคติ |
วิทยานิพนธ์ |
2550 |
แบบจำลองการเกิดและการดึงดูดการเดินทางโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์การใช้ประโยชน์ที่ดิน |
วิทยานิพนธ์ |
2550 |
การคาดการณ์ปริมาณน้ำเข้าอ่างเก็บน้ำ และพื้นที่น้ำท่วมบริเวณตัวเมืองลำปาง ที่เกิดจากการตัดสินใจระบายน้ำจากเขื่อนกิ่วลม |
วิทยานิพนธ์ |
2550 |
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างของผู้รับเหมาในจังหวัดเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2550 |
การจำลองเชิงพื้นที่ของระดับการสั่นไหวของอาคารในเมืองเชียงใหม่ในสถานการณ์แผ่นดินไหว |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2550 |
ปัญหาการประยุกต์ใช้มาตรฐานไอเอสโอ 9000 ในองค์กรก่อสร้างขนาดกลาง กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2551 |
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความสามารถในการจัดการ ทางการเงินและระดับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจ ของผู้รับเหมาก่อสร้างในจังหวัดเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2551 |
การวิเคราะห์ที่ตั้งโรงผสมแอสฟัลท์คอนกรีตโดยอาศัยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2551 |
ผลสนองตอบต่อมาตรการจัดการอุปสงค์การเดินทางโดยแบบจำลองมิกซ์โลจิต กรณีศึกษาค่าธรรมเนียมการเข้าพื้นที่เขตเมืองเชียงใหม่ |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
ผลของขนาดและปริมาณของทรายต่อการเกิดผลึกแคลเซียมซิลิเกตไฮเดรตและคุณสมบัติทางกลของคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอน้ำ |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
ปฏิสัมพันธ์ของระยะทรุดตัวระหว่างเสาเข็มเสียดทานรับน้ำหนักบรรทุกไม่เท่ากันในตัวกลางยืดหยุ่น |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
คุณสมบัติทางกายภาพของอิฐที่ทำด้วยดินเหนียวผสมขี้เลื่อยโดยกระบวนการโคลนแข็ง |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
คุณสมบัติการรับแรงของดินซีเมนต์ผสมเถ้าลอยสำหรับงานปรับ ปรุงคุณสมบัติโดยวิธีผสมลึกในชั้นดินเชียงใหม่ |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
การหาคุณสมบัติเชิงพลศาสตร์ของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในเชียงใหม่โดยวิธีแอมเบียนท์ไวเบรชั่น |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
การพัฒนาฐานข้อมูลสภาพชั้นดินเชียงใหม่โดยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
การทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวระบายน้ำของดินภายใต้น้ำหนักบรรทุกเพิ่มทีละขั้น ตามทฤษฎีของ เมสรี และ ร็อคฮ์ซาร์ |
วิทยานิพนธ์ |
2551 |
การวิเคราะห์ความผันผวนของราคาและกลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงด้านราคา กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน้ำแม่สะลวม |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2551 |
การประเมินปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อความชำรุดทางรถไฟ กรณีศึกษาทางรถไฟสายเหนือระหว่างสถานีพรหมพิราม ถึง สถานีเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การวิเคราะห์ปัญหาการก่อสร้างเนื่องจากแบบก่อสร้างงานอาคารภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
กรอบการประเมินความเสี่ยงสำหรับช่วงก่อนการก่อสร้างของโครงการชลประทานขนาดกลาง |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความอยู่รอดของผู้รับเหมาก่อสร้างในจังหวัดเชียงใหม่ช่วงภาวะเศรษฐกิจถดถอย |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของวัสดุก่อสร้างแบบลีนโดยวิธีต้นทุนกิจกรรม |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การจัดการความบกพร่องของงานก่อสร้าง ในโครงการบ้านจัดสรร |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การจัดหมวดหมู่ข้อกฎหมายก่อสร้างในพระราชบัญญัติควบคุมอาคารฯ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การวิเคราะห์เชิงสุ่มราคากลางของราคาก่อสร้างโดยอาศัยข้อมูลต้นทุนที่คาดการณ์ล่วงหน้า กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน้ำแม่สะลวม |
การค้นคว้าแบบอิสระ |
2552 |
การอัดตัวระบายน้ำของชั้นดินที่เกิดความเครียดขนาดจำกัด ภายใต้น้ำหนักบรรทุกทีละขั้น |
วิทยานิพนธ์ |
2552 |
การเสริมแรงจูงใจของบุคลากรในบริษัทก่อสร้างขนาดเล็กกรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ |
การค้นคว้าแบบอิสระ |